วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่6
วันพุธที่14กุมภาพันธ์2561

ความรู้ที่ได้รับ


เพื่อนนำเสนอ บทความ วิจัย ตัวอย่างการสอน ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย

   
นางสาวอรอุมา ศรีท้วมบทความ การส่งเสริมคณิตศาสตร์เด็ก3-4ปี ให้เด็กเรียนรู้รูปธรรมคือ จมูก ลิ้น กาย สัมผัส
 5-6 ปี ให้เด็กเรียนรู้จากนามธรรม เช่นจัดสภาพแวดล้อมที่บ้านเรียงลำดับชั้นวาง 
กางเกงเสื้อ การวางช้อนกับส้อม ให้เด็กได้จับคู่ 

นางสาวขนิษฐา สมานมิตรนำเสนอวิจัย ทักษะคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติ เรียงลำดับสั้นยาว การจะสอนเด็กต้องวางด้านใดด้านหนึ่งใหเท่ากันแล้วให้เดกเปรียบเทียบ  ดังภาพด้านล่าง

 

จะสอนการเปรียบเทียบต้องวางด้านใดด้านหนึ่งให้เท่ากัน แล้วให้เด็กเปรียบเทียบ


ครูให้เด็กร้อยต้นกก สั้นยาวสลับกันสอนเรื่อง อนุกรม  

นางสาวบงกชกมล ยังโยมร นำเสนอตัวอย่างการสอน ครูใช้สัญลักษณ์ท่าทางให้เด็กบวกเลข
เช่น 7 + 3 = 10
เพียเจต์ 1.ความรู้ด้านกายภาพ
                                        2.ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์

ขอบข่าย 
1.การนับ                        7.รูปร่างและเนื้อที่
2.ตัวเลข                         8.การวัด
3.การจับคู่                      9. เซต
4.การจัดประเภท           10.เศษส่วน
5.การเปรียบเทียบ         11.การทำตามแบบหรือลวดลาย(อนุกรม)
6.การจัดลำดับ              12.การอนุรักษ์ หรือคงที่(เปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะปริมาณเท่าเดิม)

1.เรียนจากของจริง  ใช้ของจริง
                                ใช้รูปภาพแทนของจริง
                                กึ่งรูปภาพ
                                นามธรรม 
2.เริ่มง่ายๆใกล้ตัวเด็ก จากง่ายไปยาก
3.สร้างความเข้าใจรู้ความหมายมากกว่าจำ
4.ให้คิดจากปัญหาในชีวิตประจำวันเพื่อขยายประสบการณ์ให้สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม
5.สนุก สนาน ได้ความรู้ด้วย
6.เข้าใจ สรุปเป็นกฏเกณฑ์เพื่อจำเป็นอันดับสุดท้าย
7.ทบทวน ตั้งคำถามส่งเสริมให้เด็กได้คิด อย่างไร ทำไม พราะอะไร ถามคำถามปลายเปิด

การประเมิน
ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียน ตอบคำถามอาจารย์ได้หลายคำถาม
ประเมินเพื่อน คุยกันบ้าง ตั้งใจเรียน
ประเมินอาจารย์ ทบทวนสิ่งที่เคยเรียนมาตลอดเวลา ทดสอบความจำ สอนเข้าใจง่าย

วันอาทิตย์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

บันทึกการเรียนครั้งที่5
วันศุกร์ที่9กุมภาพันธ์ 2561 



ความรูที่ได้รับ 

เพื่อนๆเล่าบทความ วิจัย และตัวอย่างการสอน 

นางสาวอุไรพร พวกดีนำเสนอตังอย่างการสอน 
เรื่องใส่ขาแกะ เด็กได้นับเลข จำเรื่องของสี เรื่องของขนาดนับจำนวน 
ผู้ปกครองควรฝึกการจำให้กับเด็กที่บ้านด้วย เพราะการจำของแต่ละคนไม่เท่ากัน 



นางสาวสุภาวดี ปานสุวรรณ นำเสนอบทความ เล่าว่า  การเรียนรู้ด้วยการลงมือทำจริงสำคัญที่สุด เด็กจะได้เรียนรู้ตามธรรมชาติตามวัย 

นางสาววิภาพร จิตอาคะ นำเสนอวิจัยการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการละเล่นพื่นบ้านของไทยในชั้นอนุบาล



จะหาว่าใครมากกว่าจับคู่1:1       1คนต่อ1อัน

เช่นสำรวจความชอบในห้อง ใครชอบ ส้ำตำ หรือ ลาบไก่ 
ผลปรากฏว่าชอบส้มตำมากกว่า การจะอธิบายให้เด็กฟัง ต้องจับคู่ไปทีละเเถว แลวเหลือเท่าไหร่ที่ไม่มีคู่ นั่นคือจำนวนที่มากกว่าอยู่เท่าไหร่ที่เด็กจะเข้าใจได้ง่าย


เพื่อนๆต่อแถว เลือกสิ่งที่ตนเองชอบ ระหว่าง ส้มตำกับลาบไก่



อาจารย์มอบหมายให้กำหนดจังหวะการตบมือตามเพลงจากแค่ตบมือ1จังหวะ 
ต่อมาแทนท่าทางลงไปเป็น2จังหวะ 3จังหวะตามมา


อาจารย์มอบหมายให้คิดว่าชีวิตประจำวันใช้คณิตศาสตร์ในเรื่องใดบ้างและใช้เมื่อใด

การประเมิน 
ประเมินตนเองตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมาย อยู่ไม่นิ่งคุยกับเพื่อน
ประเมินเพื่อน ทุกคนทำท่าต่างๆด้วยความสนุกสนาน
ประเมินอาจารย์สอนเข้าใจง่าย เน้นการปฏิบัติให้เห็นภาพสนุกมากค่ะ



วันอาทิตย์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

บันทึกการเรียนคร้งที่4
วันพุธที่1 กุมภาพันธ์ 2561

ความรู้ที่ได้
 อาจารย์ให้นำเสนอบทความ วิจัย ตัวอย่างการสอน และพูดถึงวิธีแนะนำตัวคือ
 เรียนอาจารย์ที่เคารพ และสวัสดีเพื่อนๆทุกคนดิันชื่อ.......เลขที่.......วันนี้จะมานำเสนอ......ของใคร.....พ.ศ....จาก......



เพื่อนนำเสนอคนแรก
การนำเสนอหน้าชั้นต้องไม่ละเลยเด็ก นั่งนำเสนอให้ทุกคนเห็นชัด


จำนวนกระดาษกับคน เขียนตามขั้นตอนจนนำไปสู่การบวกลบที่เราเข้าใจคือเรียงจาก
กระดาษ > คน
23>20  อยู่3
23-20  =   3
*ให้สอนกว้างๆมาก่อนค่อยแคบลง การหาคำตอบไม่ได้มีวิธีเดียวในการหาคำตอบ ครูเป็นคนจัดการเรียนรู้ว่าจะให้เด็กคิดนอกกรอบมากแค่ไหน


คณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมืในการแก้ปัญหา การแก้ปัญหามีหลายวิธี คำนึงถึงพัฒนาการใหสอดคล้องการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงวัย เป็นลักษณะของพัฒนาการเช่น บันได มีความต่อเนื่องเหมือนพัฒนาการ

กาทำงานของสมอง
 พัฒนาการคือ พฤติกรรมของเด็กในแต่ละระดับอายุ การเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง5 เข้าสู่่สมองเกิดการซึมซับประสบการณ์ใหม่สอดคล้องกับประสบณ์เดิม เกิดความรู้ใหม่
*ขั้นอนุรักษ์ คือการใช้เหตุผลมาอ้างกับที่ตาเห็น


การประเมิน
ประเมินตัวเอง ตั้งใจฟังอาจารยื ตั้งใจเรียน 
ประเมินเพื่อน ตั้งใจเรียนคุยกันบ้าง
ประเมินอาจารย์ อาจารย์สอนเข้าใจ เข้าถึงเนื้อหาด้วยภาษาที่ง่าย


งานที่ได้รับมอบหมาย การสร้างรูปเรขาคณิตและรูปทรงเลขาคณิตโดยมีไม้จิ้มฟันและดินน้ำมันเป็นส่วนประกอบ 1.รูปเรขาคณิต  รูปสี่เหลี่ยม 2....